พระใหม่
หลวงปู่ชื่น วัดตาอี จ.บุรีรัมย์
หลวงปู่ผาด วัดบ้านกรวด จ.บุรีรัมย์
หลวงปู่ฤทธิ์ วัดชลประทานจ.บุรีรัมย์
หลวงพ่อชม วัดหลักสองฯ
หลวงพ่อชำนาญ วัดกุฎีทอง
หลวงปู่สรวง ออยเตียนสรูล
หลวงพ่อดำ วัดสันติธรรม
หลวงพ่อช้าง วัดหนองยายเม้า
อาจารย์สาย
หลวงพ่อสมชาย วัดด่านเกวียน
พระอาจารย์สุนทร วัดวิปัสสนาพนาวัน
สมเด็จวัดระฆัง ชุดพิเศษ 10 องค์
รูปหล่อ หลวงพ่อสด วัดปากน้ำ
ตะกรุดมหาโจร " ไตรมาส 50 "
หลวงปู่นอง วัดวังสีทอง
หลวงพ่อเอื้อน วัดวังแดงใต้
หลวงปู่อิน วัดหนองเม็ก
พระอาจารย์ประสูติ วัดในเตา
หลวงพ่อตัด รุ่น " มงคลบารมี 77 "
กำไล มหาโภคทรัพย์ ลพ.สาคร
หลวงพ่อตัด วัดชายนา
หลวงปู่นอง รุ่น บรมครู 51
หลวงพ่อกอย วัดเขาดินใต้
หลวงพ่อสม วัดวังแพ
หลวงปู่ดี วัดโพธิ์ศรีถาวร
หลวงพ่อมัก วัดเขาเล็กรางสะเดา
พระอาจารย์ปุ้ม วัดศาลาแดง
พระมหาวิศิษฐ์ วัดมหาธาตุ
ditRegion8
วัตถุมงคล ตะกรุดมหาโจร " ไตรมาส 50 "
 
อิทธิปาฏิหาริย์ พระเครื่อง ให้เช่า พระเครื่อง พระบูชา เครื่องรางของขลัง วัตถุมงคล แหล่งความรู้เกี่ยวกับพระเครื่อง เครื่องราง วัตถุมงคล พระกรุ ศูนย์พระเครื่อง ตลาดพระ ข่าวพระเครื่อง วงการพระเครื่อง เว็บบอร์ดพระเครื่อง เครื่องราง อุปกรณ์พระเครื่อง เครื่องราง ประวัติพระเกจิอาจารย์
หน้าแรก อิทธิปาฏิหาริย์ พระเครื่องเว็บบอร์ด อิทธิปาฏิหาริย์ พระเครื่องวิธีสั่งจอง ชำระเงิน อิทธิปาฏิหาริย์ พระเครื่องติอต่อ สอบถาม อิทธิปาฏิหาริย์ พระเครื่องแผนที่ อิทธิปาฏิหาริย์ พระเครื่อง

ตะกรุด มหาโจร สืบทอดกันมาจากตำนานโบราณกว่าร้อยปี เลื่องชื่อว่าเป็นมงคลวัตถุที่เป็นหนึ่งไม่เป็นรองใคร สุดยอดแห่งความคงกระพันชาตรี ปกปักษ์รักษาผู้ที่ได้ครอบครองวัตถุมงคลอย่างแท้จริง ตะกรุดมหาโจรนี้ เชื่อว่าพระเจ้าตากสินมหาราชก็ทรงใช้ประจำในคราวปล้นค่ายพม่า หรือบางตำราก็กล่าวว่า สมเด็จพระนเรศวรก็ใช้คราวตีค่ายพม่าให้แม่ทัพนายกองใช้เรียกว่า ตะกรุดแม่ทัพพระอาจารย์สมชาย จิตตสังวะโร ได้ศึกษาเล่าเรียนสรรพเวทวิชา เอกมนตรามหาจินดามณี จากพระครูมนูญธรรมวัตร (หลวงพ่อสาคร มนูญโญ ) วัดหนองกรับ วิชาการลงทำตะกรุดตามตำหรับตำราโบราณของครูบาอาจารย์ ที่ท่านได้ศึกษามาเป็นอย่างดี ตะกรุดมหาโจร ไตรมาส ๕๐ ทำจากตะกั่ว ซึ่งบรรดาลูกศิษย์ได้รวบรวมมวลสารนำมาถวาย เป็นการรวบรวมสุดยอดมวลสาร ประกอบด้วย ตะกั่วถ้ำชา ตะกั่วขอมโบราณพันปี ตะกั่วรามัญพันปี ตะกั่วน้ำนมบริสุทธิ์ ตะกั่วแม่หม้าย ตะกั่วเศษขอ ตะกั่วเทพนารายณ์ประทานทรัพย์ ตะกั่วมหาเทพ ตะกั่วมหาระงับ ตะกั่วสำเร็จ และที่ขาดเสียมิได้ ตะกั่วอวนแหที่ใช้งานแล้ว แหอวนถือว่าเป็นวัตถุอาถรรพ์สามารถป้องกันภูตผีปีศาจได้ คนโบราณมักเรียกนามอวนแหว่า เป็นนางพญาพันตา ในสมัยก่อนเวลาคลอดบุตรต้องนำแหมาครอบเพื่อกันภูตผีปีศาจสิ่งชั่วร้าย อวนแหยังเป็นเครื่องมือหากินซึ่งทุกครั้งลงน้ำต้องได้เหยื่อ จึงถือเป็นสิริมงคลในตัวเองจึงต้องใช้ตะกั่วอวนแหเป็นมวลสารสำคัญในการทำตะกรุดในครั้งนี้

 

ตะกรุด มหาโจร ไตรมาส ๕๐ อุดด้วยผงพรายกุมาร พรายกระชากทรัพย์ ซึ่งเป็นสุดยอดแห่งผงเมตตาค้าขายดี เมตตามหานิยม แคล้วคลาดปลอดภัย คงกระพัน มหาอุด มหาอำนาจ กันคุณไสย แคล้วคลาดจากอุบัติภัยต่างๆ ปกปักรักษาป้องกันคุณไสยคุณคน รวมพลังมหาเวทอย่างแท้จริง มวลสารศักดิ์สิทธิ์ผงพรายกุมาร พรายกระชากทรัพย์” 1. ผงพุทธคุณต่างๆ หลวงพ่อสาคร ท่านได้เมตตาจิตลงผงให้ทั้งหมด รวมทั้งผงเก่าและเม็ดลูกอม ผงพรายกุมาร เม็ดประคำหลวงปู่ทิม วัดละหารไร่ ผงกระเบื้องโบสถ์ ผงเสาโบสถ์ อิฐแดงฐานพระประทาน วัดหนองกรับ สีผึ้งเสก 2. น้ำมันช้างพรายผสมโขง ปลุกเสกโดยหลวงพ่อโทน วัดเขาน้อยคีรีวัน จ.ชลบุรี ตลอดพรรษา ดีทางเมตตามหาเสน่ห์ 3. ผงว่าน 108 หลวงพ่อจ้อย วัดหนองน้ำเขียว จ.ชลบุรี 4. ผงใบลานเก่าวัดบ้านแลง อ.เมือง จ.ระยอง ปี 2496 มีพระเกจิที่รวมปลุกเสกผง อาทิ หลวงปู่ทิม วัดละหารไร่ , หลวงปู่เผือก วัดกิ่งแก้ว , หลวงพ่อเงิน วัดดอนยายหอม, หลวงพ่อสด วัดปากน้ำ, หลวงพ่อโต วัดบ่อทอง ฯลฯ 5. ผงหลวงปู่เรือง อาพัสโล วัดเขาสามยอด จ.ลพบุรี 6. แป้งเสก หลวงพ่อกาส วัดแพงพลวย จ.บุรีรัมย์ 7. ผงว่าน 108 หลวงพ่อโทน วัดเขาน้อยคีรีวัน จ.ชลบุรี 8.ผงว่านรากราคะหรือว่านดอกทอง ดีทางเมตตามหาเสน่ห์ ตะกรุดมหาโจร ไตรมาส ๕0” อธิฐานจิตปลุกเสกโดย สองศิษย์เอกคู่บารมี หลวงปู่ทิม อิสริโก แห่งวัดละหารไร่ หลวงพ่อสาคร วัดหนองกรับ หลวงพ่อสิน วัดละหารใหญ่ และสามเกจิอาจารย์ดังแห่งภาคตะวันออก หลวงพ่อโทน วัดเขาน้อยคีรีวัน หลวงพ่อจ้อย วัดหนองน้ำเขียว หลวงพ่อชาญ วัดบางบ่อ พุทธาภิเษก 13 พ.ย. 2550 ณ.สำนักสงฆ์เขาดินเนินหย่อง ต.หนองบัว อ.บ้านค่าย จ.ระยอง 24 พ.ย. 2550 ณ. วัดหนองกรับ ต.หนองบัว อ.บ้านค่าย จ.ระยอง

 

ตะกรุดมหาโจร เนื้อเงิน สร้าง 199 ดอก (หมด)

ตะกรุดมหาโจร เนื้อตะกั่ว หมด

 

ตะกรุดมหาโจรไตรมาส 50
ตะกรุดมหาโจรไตรมาส 50™
ตะกรุดมหาโจรไตรมาส 50
ตะกรุดมหาโจรไตรมาส 50
EditRegion4
EditRegion5
EditRegion6 EditRegion7 EditRegion8